Job Overview
รายละเอียดงาน
สถานที่ปฏิบัติงาน : กรุงเทพมหานคร(เขตวัฒนา)
สาขาอาชีพหลัก : การแพทย์ สาขาอาชีพรอง : ผู้ช่วยทางการแพทย์
รูปแบบงาน : งานประจำ
ระดับตำแหน่งงาน : เจ้าหน้าที่
จำนวนที่รับ : 4 ตำแหน่ง
เงินเดือน(บาท) : ตามตกลง
วันทำงาน : ตามที่บริษัทกำหนด
วันหยุด : ไม่ระบุ
เวลาทำงาน : ตามที่บริษัทกำหนด
เวลาทำงานอื่นๆ : ไม่ระบุ
หน้าที่ความรับผิดชอบ
•จัดเตรียมห้องตรวจให้พร้อมใช้งาน
•ดูแล / จัดเตรียม / จัดเก็บอุปกรณ์ อุปกรณ์การแพทย์ให้พร้อมใช้งาน
•ต้อนรับ และ อำนวยความสะดวกแก่ผู้ป่วยและญาติรวมทั้งลูกค้าภายในของโรงพยาบาล
•ดำเนินการเบิกยาและเวชภัณฑ์เรื่องเครื่องมือต่างๆตามคำสั่งแพทย์
•ช่วยแพทย์ในการหยอดยา จัดทำ Posittion และช่วยแพทย์ทำหัตถการหรือทำ Laser
คุณสมบัติผู้สมัคร
เพศ : หญิง
อายุ(ปี) : 22 – 35
ระดับการศึกษา : ปริญญาตรี
ประสบการณ์(ปี) : 0 – 1
คุณสมบัติผู้สมัครเพิ่มเติม
•จบการศึกษามัธยมปลาย สายวิทย์-คณิต จบการศึกษา ปริญญาตรี ทุกสาขา
•ประสบการณ์ในการทำงานโดยรวมอย่างน้อย 1 ปี ไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์ในการทำงานสายตรง
•ยินดีรับนักศึกษาจบใหม่
สวัสดิการ
•ทำงานสัปดาห์ละ 5 วัน
•ประกันสังคม
•กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
•ค่ารักษาพยาบาล
•โบนัสตามผลประกอบการและผลการปฏิบัติงาน
•ตรวขสุขภาพประจำปี
•เงินช่วยเหลืองานแต่ง,งานบวช,งานศพ
•ท่องเที่ยวประจำปี
•งานเลี้ยงประจำปี
•วันลาพักร้อน 7-10 วัน
วิธีการสมัคร
ชื่อผู้ติดต่อ : แผนกสรรหาบุคลากร
เบอร์ผู้ติดต่อ : 02-056-3333 ต่อ 74802 056 3333 ต่อ 748 , 062-698-2640
อีเมล : recruit@rutnin.com
ติดต่อ
โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน
80/1 ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทย
การเดินทาง
BTS อโศก
MRT สุขุมวิท
รถเมล์ สายสาย 38,98,136,ปอ.38, ปอ.136และ ปอ. 185
About โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน
โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน
ประเภทธุรกิจ : กิจกรรมโรงพยาบาล
เกี่ยวกับเรา : เป็นรากฐานการรักษาที่มีประสิทธิภาพสูงสุดและเป็นที่ยอมรับในวงการจักษุวิทยาของโลกและยังเป็นผู้บุกเบิกการพัฒนาวิทยาการ และเทคโนโลยีการรักษา ตาของไทย ให้เทียบเท่าสากล “ จักษุ รัตนิน ” โรงพยาบาลเฉพาะทางตาแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2507 โดยศาสตราจารย์นายแพทย์อุทัย รัตนิน จักษุแพทย์ ผู้วางรากฐานและดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาจักษุวิทยาคนแรก ของคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ทั้งยังเป็นผู้ค้นคว้าวิจัยลักษณะภายในของจอประสาทตา (Peripheral Retina) ในภาวะปกติได้สำเร็จ กลายเป็นหลักวิชาพื้นฐานทางจักษุวิทยา ที่จักษุแพทย์ทั่วโลกใช้เป็นบรรทัดฐานอ้างอิงจนถึงปัจจุบัน